ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก
Toggle navigation
Main navigation
หน้าหลัก
ค้นหา
แผนที่
สถิติ
ดาวน์โหลด
เอกสารและเว็บเซอร์วิส
แบบฟอร์ม
การวิเคราะห์
การคำนวณคาร์บอน
เว็บไซต์
สนทนา
เข้าสู่ระบบ
เข้าสู่ระบบ
ลงทะเบียน
เหตุการณ์
ชั้นข้อมูล
ตัวกรอง
ประเภท
- ทั้งหมด -
ปลูกป่า
บุกรุกป่า
จับกุมการขนไม้
ไฟป่า
ล่าสัตว์
เก็บของป่า
จังหวัด
- ทั้งหมด -
กรุงเทพมหานคร
จ.สมุทรปราการ
จ.นนทบุรี
จ.ปทุมธานี
จ.พระนครศรีอยุธยา
จ.อ่างทอง
จ.ลพบุรี
จ.สิงห์บุรี
จ.ชัยนาท
จ.สระบุรี
จ.ชลบุรี
จ.ระยอง
จ.จันทบุรี
จ.ตราด
จ.ฉะเชิงเทรา
จ.ปราจีนบุรี
จ.นครนายก
จ.สระแก้ว
จ.นครราชสีมา
จ.บุรีรัมย์
จ.สุรินทร์
จ.ศรีสะเกษ
จ.อุบลราชธานี
จ.ยโสธร
จ.ชัยภูมิ
จ.อำนาจเจริญ
จ.บึงกาฬ
จ.หนองบัวลำภู
จ.ขอนแก่น
จ.อุดรธานี
จ.เลย
จ.หนองคาย
จ.มหาสารคาม
จ.ร้อยเอ็ด
จ.กาฬสินธุ์
จ.สกลนคร
จ.นครพนม
จ.มุกดาหาร
จ.เชียงใหม่
จ.ลำพูน
จ.ลำปาง
จ.อุตรดิตถ์
จ.แพร่
จ.น่าน
จ.พะเยา
จ.เชียงราย
จ.แม่ฮ่องสอน
จ.นครสวรรค์
จ.อุทัยธานี
จ.กำแพงเพชร
จ.ตาก
จ.สุโขทัย
จ.พิษณุโลก
จ.พิจิตร
จ.เพชรบูรณ์
จ.ราชบุรี
จ.กาญจนบุรี
จ.สุพรรณบุรี
จ.นครปฐม
จ.สมุทรสาคร
จ.สมุทรสงคราม
จ.เพชรบุรี
จ.ประจวบคีรีขันธ์
จ.นครศรีธรรมราช
จ.กระบี่
จ.พังงา
จ.ภูเก็ต
จ.สุราษฎร์ธานี
จ.ระนอง
จ.ชุมพร
จ.สงขลา
จ.สตูล
จ.ตรัง
จ.พัทลุง
จ.ปัตตานี
จ.ยะลา
จ.นราธิวาส
อำเภอ
- ทั้งหมด -
ตำบล
- ทั้งหมด -
ซ่อนไอคอนผลการค้นหา
SHP
ค้นหาสถานที่
หน้า
ลำดับ
1
-
50
จาก
ภาพถ่ายจากดาวเทียม
Planet พ.ศ. 2561 (ต.ค. - ธ.ค.)
รายการ
คำอธิบาย
ชั้นข้อมูล:
ข้อมูลภาพถ่ายจากดาวเทียมแพลนเน็ต (Planet)
รายละเอียด:
ข้อมูลภาพถ่ายจากดาวเทียมแพลนเน็ตแบบออร์โท บันทึกภาพในเดือนตุลาคม ถึง ธันวาคม พ.ศ.2561 ภาพสีผสมธรรมชาติ รายละเอียดภาพ 5 เมตร ครอบคลุมพื้นที่ทั้งประเทศ
ข้อจำกัดการใช้งาน:
ข้อมูลสามารถนำไปใช้งานได้ดี ในมาตราส่วน ตั้งแต่ 1:10,000 เป็นต้นไป และสามารถนำไปใช้เป็นข้อมูลอ้างอิงในเชิงพื้นที่ได้ในเบื้องต้น
แหล่งข้อมูล:
1. Planet Labs 2. สำนักงานพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ (GISTDA)
Planet พ.ศ.2561 (ก.ค. - ก.ย.)
รายการ
คำอธิบาย
ชั้นข้อมูล:
ข้อมูลภาพถ่ายจากดาวเทียมแพลนเน็ต (Planet)
รายละเอียด:
ข้อมูลภาพถ่ายจากดาวเทียมแพลนเน็ตแบบออร์โท บันทึกภาพในเดือนกรกฎาคม ถึง กันยายน พ.ศ.2561 ภาพสีผสมธรรมชาติ รายละเอียดภาพ 5 เมตร ครอบคลุมพื้นที่ทั้งประเทศ
ข้อจำกัดการใช้งาน:
ข้อมูลสามารถนำไปใช้งานได้ดี ในมาตราส่วน ตั้งแต่ 1:10,000 เป็นต้นไป และสามารถนำไปใช้เป็นข้อมูลอ้างอิงในเชิงพื้นที่ได้ในเบื้องต้น
แหล่งข้อมูล:
1. Planet Labs 2. สำนักงานพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ (GISTDA)
Planet พ.ศ.2561 (ม.ค. - มี.ค.)
รายการ
คำอธิบาย
ชั้นข้อมูล:
ข้อมูลภาพถ่ายจากดาวเทียมแพลนเน็ต (Planet)
รายละเอียด:
ข้อมูลภาพถ่ายจากดาวเทียมแพลนเน็ตแบบออร์โท บันทึกภาพในเดือนมกราคม ถึง มีนาคม พ.ศ.2561 ภาพสีผสมธรรมชาติ รายละเอียดภาพ 5 เมตร ครอบคลุมพื้นที่ทั้งประเทศ
ข้อจำกัดการใช้งาน:
ข้อมูลสามารถนำไปใช้งานได้ดี ในมาตราส่วน ตั้งแต่ 1:10,000 เป็นต้นไป และสามารถนำไปใช้เป็นข้อมูลอ้างอิงในเชิงพื้นที่ได้ในเบื้องต้น
แหล่งข้อมูล:
1. Planet Labs 2. สำนักงานพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ (GISTDA)
Thaichote พ.ศ.2557-2560
รายการ
คำอธิบาย
ชั้นข้อมูล:
ข้อมูลภาพถ่ายจากดาวเทียมไทยโชต (Thaichote)
รายละเอียด:
ข้อมูลภาพถ่ายจากดาวเทียมไทยโชตแบบออร์โท บันทึกภาพในช่วง พ.ศ.2557 – 2560 ภาพสีผสมธรรมชาติ รายละเอียดภาพ 2 เมตร ครอบคลุมพื้นที่บางส่วนของประเทศ
ข้อจำกัดการใช้งาน:
ข้อมูลสามารถนำไปใช้งานได้ดี ในมาตราส่วน ตั้งแต่ 1:25,000 เป็นต้นไป และสามารถนำไปใช้เป็นข้อมูลอ้างอิงในเชิงพื้นที่ได้ในเบื้องต้น
แหล่งข้อมูล:
สำนักงานพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ (GISTDA)
LANDSAT-8 พ.ศ.2560
รายการ
คำอธิบาย
ชั้นข้อมูล:
ข้อมูลภาพถ่ายจากดาวเทียมแลนแซท 8 (LANDSAT-8)
รายละเอียด:
ข้อมูลภาพถ่ายจากดาวเทียมแลนแซท 8 แบบออร์โท บันทึกภาพใน พ.ศ.2560 ภาพสีผสมธรรมชาติ รายละเอียดภาพ 15 เมตร ครอบคลุมพื้นที่ทั้งประเทศ
ข้อจำกัดการใช้งาน:
ข้อมูลสามารถนำไปใช้งานได้ดี ในมาตราส่วน ตั้งแต่ 1:100,000 เป็นต้นไป และสามารถนำไปใช้เป็นข้อมูลอ้างอิงในเชิงพื้นที่ได้ในเบื้องต้น
แหล่งข้อมูล:
1. NASA และ USGS (U.S. Geological Survey) 2. สำนักงานพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ (GISTDA)
LANDSAT-8 พ.ศ.2558-2559
รายการ
คำอธิบาย
ชั้นข้อมูล:
ข้อมูลภาพถ่ายจากดาวเทียมแลนแซท 8 (LANDSAT-8)
รายละเอียด:
ข้อมูลภาพถ่ายจากดาวเทียมแลนแซท 8 แบบออร์โท บันทึกภาพในช่วง พ.ศ.2558 – 2559 ภาพสีผสมธรรมชาติ รายละเอียดภาพ 15 เมตร ครอบคลุมพื้นที่ทั้งประเทศ
ข้อจำกัดการใช้งาน:
ข้อมูลสามารถนำไปใช้งานได้ดี ในมาตราส่วน ตั้งแต่ 1:100,000 เป็นต้นไป และสามารถนำไปใช้เป็นข้อมูลอ้างอิงในเชิงพื้นที่ได้ในเบื้องต้น
แหล่งข้อมูล:
1. NASA และ USGS (U.S. Geological Survey) 2. สำนักงานพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ (GISTDA)
การปกครอง
ประเทศ
จังหวัด
รายการ
คำอธิบาย
ชั้นข้อมูล:
แนวเขตการปกครองระดับจังหวัด
รายละเอียด:
แนวเขตจังหวัดของกรมการปกครอง พ.ศ.2554 และสำนักงานพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ นำมาปรับปรุงรายชื่อจังหวัดเพิ่มเติม พ.ศ.2556 มีจำนวน 77 จังหวัด
ข้อจำกัดการใช้งาน:
ข้อมูลสามารถนำไปใช้งานได้ดี ในมาตราส่วน 1:50,000 เป็นต้นไป ซึ่งจะต้องมีข้อมูลเสริมประกอบอื่นๆ เข้ามาเกี่ยวข้อง แนวเขตและชื่อในพื้นที่จริงบางพื้นที่มีการปรับปรุงที่ใหม่กว่า และชั้นข้อมูลนี้ส่วนใหญ่จะมีความถูกต้องที่ยอมรับได้ในระดับหนึ่ง โดยเฉพาะการนำไปใช้งานในมาตราส่วนเล็ก
แหล่งข้อมูล:
1. กรมการปกครอง (DOPA) 2. สำนักงานพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ (GISTDA)
อำเภอ
รายการ
คำอธิบาย
ชั้นข้อมูล:
แนวเขตการปกครองระดับอำเภอ
รายละเอียด:
แนวเขตอำเภอของกรมการปกครอง พ.ศ.2554 และสำนักงานพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ นำมาปรับปรุงรายชื่ออำเภอเพิ่มเติม พ.ศ.2556 มีจำนวน 928 อำเภอ
ข้อจำกัดการใช้งาน:
ข้อมูลสามารถนำไปใช้งานได้ดี ในมาตราส่วน 1:50,000 เป็นต้นไป ซึ่งจะต้องมีข้อมูลเสริมประกอบอื่นๆ เข้ามาเกี่ยวข้อง แนวเขตและชื่อในพื้นที่จริงบางพื้นที่มีการปรับปรุงที่ใหม่กว่า และชั้นข้อมูลนี้ส่วนใหญ่จะมีความถูกต้องที่ยอมรับได้ในระดับหนึ่ง โดยเฉพาะการนำไปใช้งานในมาตราส่วนเล็ก
แหล่งข้อมูล:
1. กรมการปกครอง (DOPA) 2. สำนักงานพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ (GISTDA)
ตำบล
รายการ
คำอธิบาย
ชั้นข้อมูล:
แนวเขตการปกครองระดับตำบล
รายละเอียด:
แนวเขตตำบลของกรมการปกครอง พ.ศ.2554 และสำนักงานพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ นำมาปรับปรุงรายชื่อตำบลเพิ่มเติม พ.ศ.2556 มีจำนวน 7,448 ตำบล
ข้อจำกัดการใช้งาน:
ข้อมูลสามารถนำไปใช้งานได้ดี ในมาตราส่วน 1:50,000 เป็นต้นไป ซึ่งจะต้องมีข้อมูลเสริมประกอบอื่นๆ เข้ามาเกี่ยวข้อง แนวเขตและชื่อในพื้นที่จริงบางพื้นที่มีการปรับปรุงที่ใหม่กว่า และชั้นข้อมูลนี้ส่วนใหญ่จะมีความถูกต้องที่ยอมรับได้ในระดับหนึ่ง โดยเฉพาะการนำไปใช้งานในมาตราส่วนเล็ก
แหล่งข้อมูล:
1. กรมการปกครอง (DOPA) 2. สำนักงานพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ (GISTDA)
หมู่บ้าน
รายการ
คำอธิบาย
ชั้นข้อมูล:
ตำแหน่งหมู่บ้าน
รายละเอียด:
ตำแหน่งหมู่บ้านของกรมการพัฒนาชุมชน พ.ศ.2550 และสำนักงานพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ นำมาปรับปรุงเพิ่มเติม พ.ศ.2559 มีจำนวน 68,632 หมู่บ้าน
ข้อจำกัดการใช้งาน:
ข้อมูลสามารถนำไปใช้งานได้ดี ในมาตราส่วน 1:25,000 เป็นต้นไป ซึ่งจะต้องมีข้อมูลเสริมประกอบอื่นๆ เข้ามาเกี่ยวข้อง ตำแหน่งและชื่อในพื้นที่จริงบางพื้นที่มีการปรับปรุงที่ใหม่กว่า และชั้นข้อมูลนี้ส่วนใหญ่จะมีความถูกต้องที่ยอมรับได้ในระดับหนึ่ง โดยเฉพาะการนำไปใช้งานในมาตราส่วนปานกลาง
แหล่งข้อมูล:
1. กรมการพัฒนาชุมชน (CDD) 2. สำนักงานพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ (GISTDA)
ภูมิศาสตร์
ชั้นคุณภาพลุ่มน้ำ
รายการ
คำอธิบาย
ชั้นข้อมูล:
ชั้นคุณภาพลุ่มน้ำ
รายละเอียด:
ชั้นคุณภาพลุ่มน้ำ ทั้งประเทศ แบ่งออกเป็น 5 ระดับ ได้แก่ ระดับที่ 1 ควรสงวนไว้เป็นพื้นที่ต้นน้ำลำธาร ระดับที่ 2 เป็นต้นน้ำลำธาร ที่สามารถใช้ประโยชน์ที่สำคัญอย่างอื่นได้ เช่น การทำเหมืองแร่ เป็นต้น ระดับที่ 3 เป็นพื้นที่ที่สามารถใช้ประโยชน์ได้ทั้งการทำไม้ เหมืองแร่ และการปลูกพืชกสิกรรมประเภทไม้ยืนต้น ระดับที่ 4 เป็นพื้นที่เกษตรกรรม ส่วนใหญ่เป็นพืชไร่ ระดับที่ 5 เป็นพื้นที่เกษตรกรรม โดยเฉพาะการทำนา
ข้อจำกัดการใช้งาน:
ข้อมูลสามารถนำไปใช้งานได้ดี ในมาตราส่วน 1:50,000 เป็นต้นไป ซึ่งจะต้องมีข้อมูลเสริมประกอบอื่นๆ เข้ามาเกี่ยวข้อง แนวเขตและชื่อในพื้นที่จริงบางพื้นที่มีการปรับปรุงที่ใหม่กว่า และชั้นข้อมูลนี้ส่วนใหญ่จะมีความถูกต้องที่ยอมรับได้ในระดับหนึ่ง โดยเฉพาะการนำไปใช้งานในมาตราส่วนเล็ก
แหล่งข้อมูล:
1. กรมส่งเสริมคุณภาพสิ่งแวดล้อม (DEQP) 2. สํานักนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม (ONEP)
พื้นที่ลุ่มน้ำหลัก
รายการ
คำอธิบาย
ชั้นข้อมูล:
พื้นที่ลุ่มน้ำหลัก
รายละเอียด:
พื้นที่ลุ่มน้ำหลัก ทั้งประเทศ พ.ศ.2547 จำนวน 25 ลุ่มน้ำ
ข้อจำกัดการใช้งาน:
ข้อมูลสามารถนำไปใช้งานได้ดี ในมาตราส่วน 1:50,000 เป็นต้นไป ซึ่งจะต้องมีข้อมูลเสริมประกอบอื่นๆ เข้ามาเกี่ยวข้อง แนวเขตและชื่อในพื้นที่จริงบางพื้นที่มีการปรับปรุงที่ใหม่กว่า และชั้นข้อมูลนี้ส่วนใหญ่จะมีความถูกต้องที่ยอมรับได้ในระดับหนึ่ง โดยเฉพาะการนำไปใช้งานในมาตราส่วนเล็ก
แหล่งข้อมูล:
กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช (DNP)
พื้นที่ลุ่มน้ำย่อย
รายการ
คำอธิบาย
ชั้นข้อมูล:
พื้นที่ลุ่มน้ำย่อย
รายละเอียด:
พื้นที่ลุ่มน้ำย่อย ทั้งประเทศ พ.ศ.2547 จำนวน 256 ลุ่มน้ำ
ข้อจำกัดการใช้งาน:
ข้อมูลสามารถนำไปใช้งานได้ดี ในมาตราส่วน 1:50,000 เป็นต้นไป ซึ่งจะต้องมีข้อมูลเสริมประกอบอื่นๆ เข้ามาเกี่ยวข้อง แนวเขตและชื่อในพื้นที่จริงบางพื้นที่มีการปรับปรุงที่ใหม่กว่า และชั้นข้อมูลนี้ส่วนใหญ่จะมีความถูกต้องที่ยอมรับได้ในระดับหนึ่ง โดยเฉพาะการนำไปใช้งานในมาตราส่วนเล็ก
แหล่งข้อมูล:
กรมอุทยานแห่งชาติสัตว์ป่าและพันธุ์พืช (DNP)
ป่าไม้
จุดสำรวจภาคสนาม
จุดความร้อน
ปี 2012
รายการ
คำอธิบาย
ชั้นข้อมูล:
จุดความร้อน
รายละเอียด:
จุดความร้อน ใน 10 จังหวัด ภาคเหนือ ตั้งแต่ พ.ศ.2543 - ปัจจุบัน เป็นการวิเคราะห์จากข้อมูลภาพถ่ายดาวเทียมระบบ MODIS ซึ่งเป็นเครื่องมือถ่ายภาพที่ได้รับการติดตั้งบนดาวเทียม TERRA และ AQUA จะมีแถบการถ่ายภาพครอบคลุมพื้นที่ประเทศไทยและสามารถถ่ายภาพได้วันละ 4 ช่วงเวลา ได้แก่ ดาวเทียม TERRA (เวลา 01.00 – 02.00 น. และ 10.00 – 11.00 น.) ดาวเทียม AQUA (เวลา 13.00 – 14.00 น. และ 22.00 – 23.00 น.) ซึ่งจะมีการข้อมูลวิเคราะห์ในช่วงเดือนมกราคม ถึง พฤษภาคม ของทุกปี เนื่องจากเป็นช่วงที่เกิดจุดความร้อนมากที่สุด โดยใช้ช่วงคลื่นอินฟาเรดกลาง (MIR Band) ช่วงคลื่นที่ 21 และ 22 กับช่วงคลื่นความร้อน (Thermal Band) ช่วงคลื่นที่ 31 เพื่อประมวลผลตำแหน่งจุดความร้อน โดยใช้โมเดล MOD14 ร่วมกับข้อมูลอ้างอิงพิกัดตำแหน่งใน MOD03 ที่ตรวจวัดจากความละเอียดของจุดภาพ 1 กิโลเมตร
ข้อจำกัดการใช้งาน:
ข้อมูลสามารถนำไปใช้งานได้ดี ในมาตราส่วน 1:50,000 เป็นต้นไป ซึ่งการตรวจวัดจุดความร้อนด้วยระบบ MODIS สามารถวัดได้ทั้งเปลวไฟ (Flaming Fire) หรือในบริเวณที่ไฟยังครุกรุ่น (Smoldering Fire) โดยช่วงคลื่นที่ดาวเทียมสามารถตรวจวัดค่าอุณหภูมิพื้นผิวของวัตถุที่เป็นเปลวไฟ (Land Surface Temperature) อยู่ระหว่าง 527 – 927 องศาเซลเซียส หรืออาจจะมีอุณหภูมิสูงถึง 1,527 องศาเซลเซียส สำหรับอุณหภูมิของไฟที่ยังครุกรุ่นนั้นจะมีอุณหภูมิอยู่ระหว่าง 177 ถึง 577 องศาเซลเซียส ที่มีขนาดประมาณ 1,000 ตารางเมตร โดยขนาดของเปลวไฟจะมีขนาดที่แตกต่างกัน ที่สามารถตรวจวัดได้จะขึ้นอยู่กับปัจจัยต่างๆ เช่น ตำแหน่งของมุมในการถ่ายภาพ การปกคลุมของหมอกควัน ความเป็นเนื้อเดียวกันของพื้นผิว (Homogeneous) อย่างไรก็ตามเปลวไฟที่มีขนาดพื้นที่ประมาณ 100 ตรารางเมตร แต่มีอุณหภูมิสูงก็สามารถตรวจพบได้ และในบางกรณีซึ่งเป็นไปได้น้อยมากที่จะตรวจพบเปลวไฟที่มีขนาดพื้นที่เล็กประมาณ 50 ตารางเมตร
แหล่งข้อมูล:
1. NASA และ USGS (U.S. Geological Survey) 2. สำนักงานพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ (GISTDA)
ปี 2013
รายการ
คำอธิบาย
ชั้นข้อมูล:
จุดความร้อน
รายละเอียด:
จุดความร้อน ใน 10 จังหวัด ภาคเหนือ ตั้งแต่ พ.ศ.2543 - ปัจจุบัน เป็นการวิเคราะห์จากข้อมูลภาพถ่ายดาวเทียมระบบ MODIS ซึ่งเป็นเครื่องมือถ่ายภาพที่ได้รับการติดตั้งบนดาวเทียม TERRA และ AQUA จะมีแถบการถ่ายภาพครอบคลุมพื้นที่ประเทศไทยและสามารถถ่ายภาพได้วันละ 4 ช่วงเวลา ได้แก่ ดาวเทียม TERRA (เวลา 01.00 – 02.00 น. และ 10.00 – 11.00 น.) ดาวเทียม AQUA (เวลา 13.00 – 14.00 น. และ 22.00 – 23.00 น.) ซึ่งจะมีการข้อมูลวิเคราะห์ในช่วงเดือนมกราคม ถึง พฤษภาคม ของทุกปี เนื่องจากเป็นช่วงที่เกิดจุดความร้อนมากที่สุด โดยใช้ช่วงคลื่นอินฟาเรดกลาง (MIR Band) ช่วงคลื่นที่ 21 และ 22 กับช่วงคลื่นความร้อน (Thermal Band) ช่วงคลื่นที่ 31 เพื่อประมวลผลตำแหน่งจุดความร้อน โดยใช้โมเดล MOD14 ร่วมกับข้อมูลอ้างอิงพิกัดตำแหน่งใน MOD03 ที่ตรวจวัดจากความละเอียดของจุดภาพ 1 กิโลเมตร
ข้อจำกัดการใช้งาน:
ข้อมูลสามารถนำไปใช้งานได้ดี ในมาตราส่วน 1:50,000 เป็นต้นไป ซึ่งการตรวจวัดจุดความร้อนด้วยระบบ MODIS สามารถวัดได้ทั้งเปลวไฟ (Flaming Fire) หรือในบริเวณที่ไฟยังครุกรุ่น (Smoldering Fire) โดยช่วงคลื่นที่ดาวเทียมสามารถตรวจวัดค่าอุณหภูมิพื้นผิวของวัตถุที่เป็นเปลวไฟ (Land Surface Temperature) อยู่ระหว่าง 527 – 927 องศาเซลเซียส หรืออาจจะมีอุณหภูมิสูงถึง 1,527 องศาเซลเซียส สำหรับอุณหภูมิของไฟที่ยังครุกรุ่นนั้นจะมีอุณหภูมิอยู่ระหว่าง 177 ถึง 577 องศาเซลเซียส ที่มีขนาดประมาณ 1,000 ตารางเมตร โดยขนาดของเปลวไฟจะมีขนาดที่แตกต่างกัน ที่สามารถตรวจวัดได้จะขึ้นอยู่กับปัจจัยต่างๆ เช่น ตำแหน่งของมุมในการถ่ายภาพ การปกคลุมของหมอกควัน ความเป็นเนื้อเดียวกันของพื้นผิว (Homogeneous) อย่างไรก็ตามเปลวไฟที่มีขนาดพื้นที่ประมาณ 100 ตรารางเมตร แต่มีอุณหภูมิสูงก็สามารถตรวจพบได้ และในบางกรณีซึ่งเป็นไปได้น้อยมากที่จะตรวจพบเปลวไฟที่มีขนาดพื้นที่เล็กประมาณ 50 ตารางเมตร
แหล่งข้อมูล:
1. NASA และ USGS (U.S. Geological Survey) 2. สำนักงานพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ (GISTDA)
ปี 2014
รายการ
คำอธิบาย
ชั้นข้อมูล:
จุดความร้อน
รายละเอียด:
จุดความร้อน ใน 10 จังหวัด ภาคเหนือ ตั้งแต่ พ.ศ.2543 - ปัจจุบัน เป็นการวิเคราะห์จากข้อมูลภาพถ่ายดาวเทียมระบบ MODIS ซึ่งเป็นเครื่องมือถ่ายภาพที่ได้รับการติดตั้งบนดาวเทียม TERRA และ AQUA จะมีแถบการถ่ายภาพครอบคลุมพื้นที่ประเทศไทยและสามารถถ่ายภาพได้วันละ 4 ช่วงเวลา ได้แก่ ดาวเทียม TERRA (เวลา 01.00 – 02.00 น. และ 10.00 – 11.00 น.) ดาวเทียม AQUA (เวลา 13.00 – 14.00 น. และ 22.00 – 23.00 น.) ซึ่งจะมีการข้อมูลวิเคราะห์ในช่วงเดือนมกราคม ถึง พฤษภาคม ของทุกปี เนื่องจากเป็นช่วงที่เกิดจุดความร้อนมากที่สุด โดยใช้ช่วงคลื่นอินฟาเรดกลาง (MIR Band) ช่วงคลื่นที่ 21 และ 22 กับช่วงคลื่นความร้อน (Thermal Band) ช่วงคลื่นที่ 31 เพื่อประมวลผลตำแหน่งจุดความร้อน โดยใช้โมเดล MOD14 ร่วมกับข้อมูลอ้างอิงพิกัดตำแหน่งใน MOD03 ที่ตรวจวัดจากความละเอียดของจุดภาพ 1 กิโลเมตร
ข้อจำกัดการใช้งาน:
ข้อมูลสามารถนำไปใช้งานได้ดี ในมาตราส่วน 1:50,000 เป็นต้นไป ซึ่งการตรวจวัดจุดความร้อนด้วยระบบ MODIS สามารถวัดได้ทั้งเปลวไฟ (Flaming Fire) หรือในบริเวณที่ไฟยังครุกรุ่น (Smoldering Fire) โดยช่วงคลื่นที่ดาวเทียมสามารถตรวจวัดค่าอุณหภูมิพื้นผิวของวัตถุที่เป็นเปลวไฟ (Land Surface Temperature) อยู่ระหว่าง 527 – 927 องศาเซลเซียส หรืออาจจะมีอุณหภูมิสูงถึง 1,527 องศาเซลเซียส สำหรับอุณหภูมิของไฟที่ยังครุกรุ่นนั้นจะมีอุณหภูมิอยู่ระหว่าง 177 ถึง 577 องศาเซลเซียส ที่มีขนาดประมาณ 1,000 ตารางเมตร โดยขนาดของเปลวไฟจะมีขนาดที่แตกต่างกัน ที่สามารถตรวจวัดได้จะขึ้นอยู่กับปัจจัยต่างๆ เช่น ตำแหน่งของมุมในการถ่ายภาพ การปกคลุมของหมอกควัน ความเป็นเนื้อเดียวกันของพื้นผิว (Homogeneous) อย่างไรก็ตามเปลวไฟที่มีขนาดพื้นที่ประมาณ 100 ตรารางเมตร แต่มีอุณหภูมิสูงก็สามารถตรวจพบได้ และในบางกรณีซึ่งเป็นไปได้น้อยมากที่จะตรวจพบเปลวไฟที่มีขนาดพื้นที่เล็กประมาณ 50 ตารางเมตร
แหล่งข้อมูล:
1. NASA และ USGS (U.S. Geological Survey) 2. สำนักงานพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ (GISTDA)
ปี 2015
รายการ
คำอธิบาย
ชั้นข้อมูล:
จุดความร้อน
รายละเอียด:
จุดความร้อน ใน 10 จังหวัด ภาคเหนือ ตั้งแต่ พ.ศ.2543 - ปัจจุบัน เป็นการวิเคราะห์จากข้อมูลภาพถ่ายดาวเทียมระบบ MODIS ซึ่งเป็นเครื่องมือถ่ายภาพที่ได้รับการติดตั้งบนดาวเทียม TERRA และ AQUA จะมีแถบการถ่ายภาพครอบคลุมพื้นที่ประเทศไทยและสามารถถ่ายภาพได้วันละ 4 ช่วงเวลา ได้แก่ ดาวเทียม TERRA (เวลา 01.00 – 02.00 น. และ 10.00 – 11.00 น.) ดาวเทียม AQUA (เวลา 13.00 – 14.00 น. และ 22.00 – 23.00 น.) ซึ่งจะมีการข้อมูลวิเคราะห์ในช่วงเดือนมกราคม ถึง พฤษภาคม ของทุกปี เนื่องจากเป็นช่วงที่เกิดจุดความร้อนมากที่สุด โดยใช้ช่วงคลื่นอินฟาเรดกลาง (MIR Band) ช่วงคลื่นที่ 21 และ 22 กับช่วงคลื่นความร้อน (Thermal Band) ช่วงคลื่นที่ 31 เพื่อประมวลผลตำแหน่งจุดความร้อน โดยใช้โมเดล MOD14 ร่วมกับข้อมูลอ้างอิงพิกัดตำแหน่งใน MOD03 ที่ตรวจวัดจากความละเอียดของจุดภาพ 1 กิโลเมตร
ข้อจำกัดการใช้งาน:
ข้อมูลสามารถนำไปใช้งานได้ดี ในมาตราส่วน 1:50,000 เป็นต้นไป ซึ่งการตรวจวัดจุดความร้อนด้วยระบบ MODIS สามารถวัดได้ทั้งเปลวไฟ (Flaming Fire) หรือในบริเวณที่ไฟยังครุกรุ่น (Smoldering Fire) โดยช่วงคลื่นที่ดาวเทียมสามารถตรวจวัดค่าอุณหภูมิพื้นผิวของวัตถุที่เป็นเปลวไฟ (Land Surface Temperature) อยู่ระหว่าง 527 – 927 องศาเซลเซียส หรืออาจจะมีอุณหภูมิสูงถึง 1,527 องศาเซลเซียส สำหรับอุณหภูมิของไฟที่ยังครุกรุ่นนั้นจะมีอุณหภูมิอยู่ระหว่าง 177 ถึง 577 องศาเซลเซียส ที่มีขนาดประมาณ 1,000 ตารางเมตร โดยขนาดของเปลวไฟจะมีขนาดที่แตกต่างกัน ที่สามารถตรวจวัดได้จะขึ้นอยู่กับปัจจัยต่างๆ เช่น ตำแหน่งของมุมในการถ่ายภาพ การปกคลุมของหมอกควัน ความเป็นเนื้อเดียวกันของพื้นผิว (Homogeneous) อย่างไรก็ตามเปลวไฟที่มีขนาดพื้นที่ประมาณ 100 ตรารางเมตร แต่มีอุณหภูมิสูงก็สามารถตรวจพบได้ และในบางกรณีซึ่งเป็นไปได้น้อยมากที่จะตรวจพบเปลวไฟที่มีขนาดพื้นที่เล็กประมาณ 50 ตารางเมตร
แหล่งข้อมูล:
1. NASA และ USGS (U.S. Geological Survey) 2. สำนักงานพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ (GISTDA)
ปี 2016
รายการ
คำอธิบาย
ชั้นข้อมูล:
จุดความร้อน
รายละเอียด:
จุดความร้อน ใน 10 จังหวัด ภาคเหนือ ตั้งแต่ พ.ศ.2543 - ปัจจุบัน เป็นการวิเคราะห์จากข้อมูลภาพถ่ายดาวเทียมระบบ MODIS ซึ่งเป็นเครื่องมือถ่ายภาพที่ได้รับการติดตั้งบนดาวเทียม TERRA และ AQUA จะมีแถบการถ่ายภาพครอบคลุมพื้นที่ประเทศไทยและสามารถถ่ายภาพได้วันละ 4 ช่วงเวลา ได้แก่ ดาวเทียม TERRA (เวลา 01.00 – 02.00 น. และ 10.00 – 11.00 น.) ดาวเทียม AQUA (เวลา 13.00 – 14.00 น. และ 22.00 – 23.00 น.) ซึ่งจะมีการข้อมูลวิเคราะห์ในช่วงเดือนมกราคม ถึง พฤษภาคม ของทุกปี เนื่องจากเป็นช่วงที่เกิดจุดความร้อนมากที่สุด โดยใช้ช่วงคลื่นอินฟาเรดกลาง (MIR Band) ช่วงคลื่นที่ 21 และ 22 กับช่วงคลื่นความร้อน (Thermal Band) ช่วงคลื่นที่ 31 เพื่อประมวลผลตำแหน่งจุดความร้อน โดยใช้โมเดล MOD14 ร่วมกับข้อมูลอ้างอิงพิกัดตำแหน่งใน MOD03 ที่ตรวจวัดจากความละเอียดของจุดภาพ 1 กิโลเมตร
ข้อจำกัดการใช้งาน:
ข้อมูลสามารถนำไปใช้งานได้ดี ในมาตราส่วน 1:50,000 เป็นต้นไป ซึ่งการตรวจวัดจุดความร้อนด้วยระบบ MODIS สามารถวัดได้ทั้งเปลวไฟ (Flaming Fire) หรือในบริเวณที่ไฟยังครุกรุ่น (Smoldering Fire) โดยช่วงคลื่นที่ดาวเทียมสามารถตรวจวัดค่าอุณหภูมิพื้นผิวของวัตถุที่เป็นเปลวไฟ (Land Surface Temperature) อยู่ระหว่าง 527 – 927 องศาเซลเซียส หรืออาจจะมีอุณหภูมิสูงถึง 1,527 องศาเซลเซียส สำหรับอุณหภูมิของไฟที่ยังครุกรุ่นนั้นจะมีอุณหภูมิอยู่ระหว่าง 177 ถึง 577 องศาเซลเซียส ที่มีขนาดประมาณ 1,000 ตารางเมตร โดยขนาดของเปลวไฟจะมีขนาดที่แตกต่างกัน ที่สามารถตรวจวัดได้จะขึ้นอยู่กับปัจจัยต่างๆ เช่น ตำแหน่งของมุมในการถ่ายภาพ การปกคลุมของหมอกควัน ความเป็นเนื้อเดียวกันของพื้นผิว (Homogeneous) อย่างไรก็ตามเปลวไฟที่มีขนาดพื้นที่ประมาณ 100 ตรารางเมตร แต่มีอุณหภูมิสูงก็สามารถตรวจพบได้ และในบางกรณีซึ่งเป็นไปได้น้อยมากที่จะตรวจพบเปลวไฟที่มีขนาดพื้นที่เล็กประมาณ 50 ตารางเมตร
แหล่งข้อมูล:
1. NASA และ USGS (U.S. Geological Survey) 2. สำนักงานพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ (GISTDA)
ปี 2017
รายการ
คำอธิบาย
ชั้นข้อมูล:
จุดความร้อน
รายละเอียด:
จุดความร้อน ใน 10 จังหวัด ภาคเหนือ ตั้งแต่ พ.ศ.2543 - ปัจจุบัน เป็นการวิเคราะห์จากข้อมูลภาพถ่ายดาวเทียมระบบ MODIS ซึ่งเป็นเครื่องมือถ่ายภาพที่ได้รับการติดตั้งบนดาวเทียม TERRA และ AQUA จะมีแถบการถ่ายภาพครอบคลุมพื้นที่ประเทศไทยและสามารถถ่ายภาพได้วันละ 4 ช่วงเวลา ได้แก่ ดาวเทียม TERRA (เวลา 01.00 – 02.00 น. และ 10.00 – 11.00 น.) ดาวเทียม AQUA (เวลา 13.00 – 14.00 น. และ 22.00 – 23.00 น.) ซึ่งจะมีการข้อมูลวิเคราะห์ในช่วงเดือนมกราคม ถึง พฤษภาคม ของทุกปี เนื่องจากเป็นช่วงที่เกิดจุดความร้อนมากที่สุด โดยใช้ช่วงคลื่นอินฟาเรดกลาง (MIR Band) ช่วงคลื่นที่ 21 และ 22 กับช่วงคลื่นความร้อน (Thermal Band) ช่วงคลื่นที่ 31 เพื่อประมวลผลตำแหน่งจุดความร้อน โดยใช้โมเดล MOD14 ร่วมกับข้อมูลอ้างอิงพิกัดตำแหน่งใน MOD03 ที่ตรวจวัดจากความละเอียดของจุดภาพ 1 กิโลเมตร
ข้อจำกัดการใช้งาน:
ข้อมูลสามารถนำไปใช้งานได้ดี ในมาตราส่วน 1:50,000 เป็นต้นไป ซึ่งการตรวจวัดจุดความร้อนด้วยระบบ MODIS สามารถวัดได้ทั้งเปลวไฟ (Flaming Fire) หรือในบริเวณที่ไฟยังครุกรุ่น (Smoldering Fire) โดยช่วงคลื่นที่ดาวเทียมสามารถตรวจวัดค่าอุณหภูมิพื้นผิวของวัตถุที่เป็นเปลวไฟ (Land Surface Temperature) อยู่ระหว่าง 527 – 927 องศาเซลเซียส หรืออาจจะมีอุณหภูมิสูงถึง 1,527 องศาเซลเซียส สำหรับอุณหภูมิของไฟที่ยังครุกรุ่นนั้นจะมีอุณหภูมิอยู่ระหว่าง 177 ถึง 577 องศาเซลเซียส ที่มีขนาดประมาณ 1,000 ตารางเมตร โดยขนาดของเปลวไฟจะมีขนาดที่แตกต่างกัน ที่สามารถตรวจวัดได้จะขึ้นอยู่กับปัจจัยต่างๆ เช่น ตำแหน่งของมุมในการถ่ายภาพ การปกคลุมของหมอกควัน ความเป็นเนื้อเดียวกันของพื้นผิว (Homogeneous) อย่างไรก็ตามเปลวไฟที่มีขนาดพื้นที่ประมาณ 100 ตรารางเมตร แต่มีอุณหภูมิสูงก็สามารถตรวจพบได้ และในบางกรณีซึ่งเป็นไปได้น้อยมากที่จะตรวจพบเปลวไฟที่มีขนาดพื้นที่เล็กประมาณ 50 ตารางเมตร
แหล่งข้อมูล:
1. NASA และ USGS (U.S. Geological Survey) 2. สำนักงานพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ (GISTDA)
จุดเหตุการณ์ป่าไม้จากแหล่งข่าว
รายการ
คำอธิบาย
ชั้นข้อมูล:
จุดเหตุการณ์ป่าไม้จากแหล่งข่าว
รายละเอียด:
จุดเหตุการณ์ทางด้านป่าไม้ ทั้งประเทศ ที่รวบรวมมาจากแหล่งข่าวต่างๆ บนอินเตอร์เน็ต ตั้งแต่ พ.ศ.2544 ถึงปัจจุบัน โดยจัดแบ่งออกเป็น 6 ประเภท ได้แก่ ป่าปลูกใหม่ ไฟป่า จับกุมขนไม้ บุกรุกป่า ล่าสัตว์ และเก็บของป่า
ข้อจำกัดการใช้งาน:
ข้อมูลสามารถนำไปใช้งานได้ดี ในมาตราส่วน 1:10,000 เป็นต้นไป ตำแหน่งของการปักหมุดจุดเหตุการณ์จะอ้างอิงจากข้อมูลที่ปรากฏในข่าวที่ละเอียดที่สุด โดยแบ่งออกเป็นระดับของความถูกต้องของตำแหน่งการปักหมุดเป็น 5 ระดับ ได้แก่ มากที่สุด (ค่าพิกัด) มาก (ชื่อหมู่บ้าน) ปานกลาง (ชื่อตำบล) น้อย (ชื่ออำเภอ) และ น้อยที่สุด (ชื่อจังหวัด)
แหล่งข้อมูล:
สำนักงานพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ (GISTDA)
จุดบุกรุก
รายการ
คำอธิบาย
ชั้นข้อมูล:
จุดบุกรุกป่า
รายละเอียด:
จุดบุกรุกป่า ในพื้นที่ป่าสงวนแห่งชาติ ทั้งประเทศ ตั้งแต่ พ.ศ.2558 – ปัจจุบัน จากระบบปฏิบัติการค้นหาพื้นที่บุกรุกด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์ (พิทักษ์ไพร) ของกรมป่าไม้
ข้อจำกัดการใช้งาน:
ข้อมูลสามารถนำไปใช้งานได้ดี ในมาตราส่วน 1:4,000 เป็นต้นไป
แหล่งข้อมูล:
กรมป่าไม้ (RFD)
พื้นที่เผาไหม้
ปี 2009
รายการ
คำอธิบาย
ชั้นข้อมูล:
พื้นที่เผาไหม้
รายละเอียด:
พื้นที่เผาไหม้ ทั้งประเทศ ตั้งแต่ พ.ศ.2552 - ปัจจุบัน เป็นการวิเคราะห์ด้วยใช้ค่าความแตกต่างของดัชนีการเผาไหม้ (Difference Normalized Burn Ratio : DifNBR) จากข้อมูลภาพถ่ายดาวเทียม LANDSAT-8 ใน 2 ช่วงเวลา ได้แก่ ก่อนเกิดไฟป่าและเมื่อเกิดไฟป่า
ข้อจำกัดการใช้งาน:
ข้อมูลสามารถนำไปใช้งานได้ดี ในมาตราส่วน 1:50,000 เป็นต้นไป ซึ่งจะต้องมีข้อมูลเสริมประกอบอื่นๆ เข้ามาเกี่ยวข้อง และชั้นข้อมูลนี้ส่วนใหญ่จะมีความถูกต้องที่ยอมรับได้ในระดับหนึ่ง โดยเฉพาะการนำไปใช้งานในมาตราส่วนเล็ก
แหล่งข้อมูล:
สำนักงานพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ (GISTDA)
ปี 2010
รายการ
คำอธิบาย
ชั้นข้อมูล:
พื้นที่เผาไหม้
รายละเอียด:
พื้นที่เผาไหม้ ทั้งประเทศ ตั้งแต่ พ.ศ.2552 - ปัจจุบัน เป็นการวิเคราะห์ด้วยใช้ค่าความแตกต่างของดัชนีการเผาไหม้ (Difference Normalized Burn Ratio : DifNBR) จากข้อมูลภาพถ่ายดาวเทียม LANDSAT-8 ใน 2 ช่วงเวลา ได้แก่ ก่อนเกิดไฟป่าและเมื่อเกิดไฟป่า
ข้อจำกัดการใช้งาน:
ข้อมูลสามารถนำไปใช้งานได้ดี ในมาตราส่วน 1:50,000 เป็นต้นไป ซึ่งจะต้องมีข้อมูลเสริมประกอบอื่นๆ เข้ามาเกี่ยวข้อง และชั้นข้อมูลนี้ส่วนใหญ่จะมีความถูกต้องที่ยอมรับได้ในระดับหนึ่ง โดยเฉพาะการนำไปใช้งานในมาตราส่วนเล็ก
แหล่งข้อมูล:
สำนักงานพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ (GISTDA)
ปี 2014
รายการ
คำอธิบาย
ชั้นข้อมูล:
พื้นที่เผาไหม้
รายละเอียด:
พื้นที่เผาไหม้ ทั้งประเทศ ตั้งแต่ พ.ศ.2552 - ปัจจุบัน เป็นการวิเคราะห์ด้วยใช้ค่าความแตกต่างของดัชนีการเผาไหม้ (Difference Normalized Burn Ratio : DifNBR) จากข้อมูลภาพถ่ายดาวเทียม LANDSAT-8 ใน 2 ช่วงเวลา ได้แก่ ก่อนเกิดไฟป่าและเมื่อเกิดไฟป่า
ข้อจำกัดการใช้งาน:
ข้อมูลสามารถนำไปใช้งานได้ดี ในมาตราส่วน 1:50,000 เป็นต้นไป ซึ่งจะต้องมีข้อมูลเสริมประกอบอื่นๆ เข้ามาเกี่ยวข้อง และชั้นข้อมูลนี้ส่วนใหญ่จะมีความถูกต้องที่ยอมรับได้ในระดับหนึ่ง โดยเฉพาะการนำไปใช้งานในมาตราส่วนเล็ก
แหล่งข้อมูล:
สำนักงานพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ (GISTDA)
ปี 2015
รายการ
คำอธิบาย
ชั้นข้อมูล:
พื้นที่เผาไหม้
รายละเอียด:
พื้นที่เผาไหม้ ทั้งประเทศ ตั้งแต่ พ.ศ.2552 - ปัจจุบัน เป็นการวิเคราะห์ด้วยใช้ค่าความแตกต่างของดัชนีการเผาไหม้ (Difference Normalized Burn Ratio : DifNBR) จากข้อมูลภาพถ่ายดาวเทียม LANDSAT-8 ใน 2 ช่วงเวลา ได้แก่ ก่อนเกิดไฟป่าและเมื่อเกิดไฟป่า
ข้อจำกัดการใช้งาน:
ข้อมูลสามารถนำไปใช้งานได้ดี ในมาตราส่วน 1:50,000 เป็นต้นไป ซึ่งจะต้องมีข้อมูลเสริมประกอบอื่นๆ เข้ามาเกี่ยวข้อง และชั้นข้อมูลนี้ส่วนใหญ่จะมีความถูกต้องที่ยอมรับได้ในระดับหนึ่ง โดยเฉพาะการนำไปใช้งานในมาตราส่วนเล็ก
แหล่งข้อมูล:
สำนักงานพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ (GISTDA)
ปี 2016
รายการ
คำอธิบาย
ชั้นข้อมูล:
พื้นที่เผาไหม้
รายละเอียด:
พื้นที่เผาไหม้ ทั้งประเทศ ตั้งแต่ พ.ศ.2552 - ปัจจุบัน เป็นการวิเคราะห์ด้วยใช้ค่าความแตกต่างของดัชนีการเผาไหม้ (Difference Normalized Burn Ratio : DifNBR) จากข้อมูลภาพถ่ายดาวเทียม LANDSAT-8 ใน 2 ช่วงเวลา ได้แก่ ก่อนเกิดไฟป่าและเมื่อเกิดไฟป่า
ข้อจำกัดการใช้งาน:
ข้อมูลสามารถนำไปใช้งานได้ดี ในมาตราส่วน 1:50,000 เป็นต้นไป ซึ่งจะต้องมีข้อมูลเสริมประกอบอื่นๆ เข้ามาเกี่ยวข้อง และชั้นข้อมูลนี้ส่วนใหญ่จะมีความถูกต้องที่ยอมรับได้ในระดับหนึ่ง โดยเฉพาะการนำไปใช้งานในมาตราส่วนเล็ก
แหล่งข้อมูล:
สำนักงานพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ (GISTDA)
พื้นที่ป่าไม้
ปี 2000
รายการ
คำอธิบาย
ชั้นข้อมูล:
พื้นที่ป่าไม้
รายละเอียด:
พื้นที่ป่าไม้ ทั้งประเทศ พ.ศ.2543 - 2558 เป็นการแปลตีความจากข้อมูลภาพถ่ายทางอากาศ และข้อมูลภาพถ่ายดาวเทียม เช่น LANDSAT-5, LANDSAT-8 และ Thaichote เป็นต้น ร่วมกับการออกสำรวจภาคสนาม มีจำนวน 6 ช่วงเวลา ได้แก่ พ.ศ.2543 โดยกรมป่าไม้ มาตราส่วน 1:50,000 พ.ศ.2545 โดยสำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร มาตราส่วน 1:4,000 พ.ศ.2547 โดยกรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช มาตราส่วน 1:50,000 พ.ศ.2551 โดยกรมป่าไม้ มาตราส่วน 1:50,000 พ.ศ.2556 โดยกรมป่าไม้ มาตราส่วน 1:50,000 พ.ศ.2558 โดยกรมป่าไม้ มาตราส่วน 1:50,000
ข้อจำกัดการใช้งาน:
ข้อมูลสามารถนำไปใช้งานได้ดี ในมาตราส่วน 1:50,000 เป็นต้นไป ซึ่งจะต้องมีข้อมูลเสริมประกอบอื่นๆ เข้ามาเกี่ยวข้อง และชั้นข้อมูลนี้ส่วนใหญ่จะมีความถูกต้องที่ยอมรับได้ในระดับหนึ่ง โดยเฉพาะการนำไปใช้งานในมาตราส่วนเล็ก
แหล่งข้อมูล:
1. กรมป่าไม้ (RFD) 2. กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช (DNP) 3. สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร (OAE)
ปี 2002
รายการ
คำอธิบาย
ชั้นข้อมูล:
พื้นที่ป่าไม้
รายละเอียด:
พื้นที่ป่าไม้ ทั้งประเทศ พ.ศ.2543 - 2558 เป็นการแปลตีความจากข้อมูลภาพถ่ายทางอากาศ และข้อมูลภาพถ่ายดาวเทียม เช่น LANDSAT-5, LANDSAT-8 และ Thaichote เป็นต้น ร่วมกับการออกสำรวจภาคสนาม มีจำนวน 6 ช่วงเวลา ได้แก่ พ.ศ.2543 โดยกรมป่าไม้ มาตราส่วน 1:50,000 พ.ศ.2545 โดยสำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร มาตราส่วน 1:4,000 พ.ศ.2547 โดยกรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช มาตราส่วน 1:50,000 พ.ศ.2551 โดยกรมป่าไม้ มาตราส่วน 1:50,000 พ.ศ.2556 โดยกรมป่าไม้ มาตราส่วน 1:50,000 พ.ศ.2558 โดยกรมป่าไม้ มาตราส่วน 1:50,000
ข้อจำกัดการใช้งาน:
ข้อมูลสามารถนำไปใช้งานได้ดี ในมาตราส่วน 1:50,000 เป็นต้นไป ซึ่งจะต้องมีข้อมูลเสริมประกอบอื่นๆ เข้ามาเกี่ยวข้อง และชั้นข้อมูลนี้ส่วนใหญ่จะมีความถูกต้องที่ยอมรับได้ในระดับหนึ่ง โดยเฉพาะการนำไปใช้งานในมาตราส่วนเล็ก
แหล่งข้อมูล:
1. กรมป่าไม้ (RFD) 2. กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช (DNP) 3. สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร (OAE)
ปี 2004
รายการ
คำอธิบาย
ชั้นข้อมูล:
พื้นที่ป่าไม้
รายละเอียด:
พื้นที่ป่าไม้ ทั้งประเทศ พ.ศ.2543 - 2558 เป็นการแปลตีความจากข้อมูลภาพถ่ายทางอากาศ และข้อมูลภาพถ่ายดาวเทียม เช่น LANDSAT-5, LANDSAT-8 และ Thaichote เป็นต้น ร่วมกับการออกสำรวจภาคสนาม มีจำนวน 6 ช่วงเวลา ได้แก่ พ.ศ.2543 โดยกรมป่าไม้ มาตราส่วน 1:50,000 พ.ศ.2545 โดยสำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร มาตราส่วน 1:4,000 พ.ศ.2547 โดยกรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช มาตราส่วน 1:50,000 พ.ศ.2551 โดยกรมป่าไม้ มาตราส่วน 1:50,000 พ.ศ.2556 โดยกรมป่าไม้ มาตราส่วน 1:50,000 พ.ศ.2558 โดยกรมป่าไม้ มาตราส่วน 1:50,000
ข้อจำกัดการใช้งาน:
ข้อมูลสามารถนำไปใช้งานได้ดี ในมาตราส่วน 1:50,000 เป็นต้นไป ซึ่งจะต้องมีข้อมูลเสริมประกอบอื่นๆ เข้ามาเกี่ยวข้อง และชั้นข้อมูลนี้ส่วนใหญ่จะมีความถูกต้องที่ยอมรับได้ในระดับหนึ่ง โดยเฉพาะการนำไปใช้งานในมาตราส่วนเล็ก
แหล่งข้อมูล:
1. กรมป่าไม้ (RFD) 2. กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช (DNP) 3. สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร (OAE)
ปี 2008
รายการ
คำอธิบาย
ชั้นข้อมูล:
พื้นที่ป่าไม้
รายละเอียด:
พื้นที่ป่าไม้ ทั้งประเทศ พ.ศ.2543 - 2558 เป็นการแปลตีความจากข้อมูลภาพถ่ายทางอากาศ และข้อมูลภาพถ่ายดาวเทียม เช่น LANDSAT-5, LANDSAT-8 และ Thaichote เป็นต้น ร่วมกับการออกสำรวจภาคสนาม มีจำนวน 6 ช่วงเวลา ได้แก่ พ.ศ.2543 โดยกรมป่าไม้ มาตราส่วน 1:50,000 พ.ศ.2545 โดยสำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร มาตราส่วน 1:4,000 พ.ศ.2547 โดยกรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช มาตราส่วน 1:50,000 พ.ศ.2551 โดยกรมป่าไม้ มาตราส่วน 1:50,000 พ.ศ.2556 โดยกรมป่าไม้ มาตราส่วน 1:50,000 พ.ศ.2558 โดยกรมป่าไม้ มาตราส่วน 1:50,000
ข้อจำกัดการใช้งาน:
ข้อมูลสามารถนำไปใช้งานได้ดี ในมาตราส่วน 1:50,000 เป็นต้นไป ซึ่งจะต้องมีข้อมูลเสริมประกอบอื่นๆ เข้ามาเกี่ยวข้อง และชั้นข้อมูลนี้ส่วนใหญ่จะมีความถูกต้องที่ยอมรับได้ในระดับหนึ่ง โดยเฉพาะการนำไปใช้งานในมาตราส่วนเล็ก
แหล่งข้อมูล:
1. กรมป่าไม้ (RFD) 2. กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช (DNP) 3. สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร (OAE)
ปี 2013
รายการ
คำอธิบาย
ชั้นข้อมูล:
พื้นที่ป่าไม้
รายละเอียด:
พื้นที่ป่าไม้ ทั้งประเทศ พ.ศ.2543 - 2558 เป็นการแปลตีความจากข้อมูลภาพถ่ายทางอากาศ และข้อมูลภาพถ่ายดาวเทียม เช่น LANDSAT-5, LANDSAT-8 และ Thaichote เป็นต้น ร่วมกับการออกสำรวจภาคสนาม มีจำนวน 6 ช่วงเวลา ได้แก่ พ.ศ.2543 โดยกรมป่าไม้ มาตราส่วน 1:50,000 พ.ศ.2545 โดยสำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร มาตราส่วน 1:4,000 พ.ศ.2547 โดยกรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช มาตราส่วน 1:50,000 พ.ศ.2551 โดยกรมป่าไม้ มาตราส่วน 1:50,000 พ.ศ.2556 โดยกรมป่าไม้ มาตราส่วน 1:50,000 พ.ศ.2558 โดยกรมป่าไม้ มาตราส่วน 1:50,000
ข้อจำกัดการใช้งาน:
ข้อมูลสามารถนำไปใช้งานได้ดี ในมาตราส่วน 1:50,000 เป็นต้นไป ซึ่งจะต้องมีข้อมูลเสริมประกอบอื่นๆ เข้ามาเกี่ยวข้อง และชั้นข้อมูลนี้ส่วนใหญ่จะมีความถูกต้องที่ยอมรับได้ในระดับหนึ่ง โดยเฉพาะการนำไปใช้งานในมาตราส่วนเล็ก
แหล่งข้อมูล:
1. กรมป่าไม้ (RFD) 2. กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช (DNP) 3. สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร (OAE)
ปี 2015
รายการ
คำอธิบาย
ชั้นข้อมูล:
พื้นที่ป่าไม้
รายละเอียด:
พื้นที่ป่าไม้ ทั้งประเทศ พ.ศ.2543 - 2558 เป็นการแปลตีความจากข้อมูลภาพถ่ายทางอากาศ และข้อมูลภาพถ่ายดาวเทียม เช่น LANDSAT-5, LANDSAT-8 และ Thaichote เป็นต้น ร่วมกับการออกสำรวจภาคสนาม มีจำนวน 6 ช่วงเวลา ได้แก่ พ.ศ.2543 โดยกรมป่าไม้ มาตราส่วน 1:50,000 พ.ศ.2545 โดยสำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร มาตราส่วน 1:4,000 พ.ศ.2547 โดยกรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช มาตราส่วน 1:50,000 พ.ศ.2551 โดยกรมป่าไม้ มาตราส่วน 1:50,000 พ.ศ.2556 โดยกรมป่าไม้ มาตราส่วน 1:50,000 พ.ศ.2558 โดยกรมป่าไม้ มาตราส่วน 1:50,000
ข้อจำกัดการใช้งาน:
ข้อมูลสามารถนำไปใช้งานได้ดี ในมาตราส่วน 1:50,000 เป็นต้นไป ซึ่งจะต้องมีข้อมูลเสริมประกอบอื่นๆ เข้ามาเกี่ยวข้อง และชั้นข้อมูลนี้ส่วนใหญ่จะมีความถูกต้องที่ยอมรับได้ในระดับหนึ่ง โดยเฉพาะการนำไปใช้งานในมาตราส่วนเล็ก
แหล่งข้อมูล:
1. กรมป่าไม้ (RFD) 2. กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช (DNP) 3. สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร (OAE)
ชนิดป่าไม้
รายการ
คำอธิบาย
ชั้นข้อมูล:
ชนิดป่าไม้
รายละเอียด:
ชนิดป่าไม้ ทั้งประเทศ พ.ศ.2543 เป็นการแปลตีความจากข้อมูลภาพถ่ายดาวเทียม ร่วมกับการออกสำรวจภาคสนาม ประกอบไปด้วยชนิดป่าไม้ 14 ชนิด ได้แก่ ป่าดิบเขา ป่าดิบชื้น ป่าดิบแล้ง ป่าเต็งรัง ป่าเบญจพรรณ ป่าบุ่ง-ป่าทาม ป่าชายเลน ป่าชายหาด ป่าไผ่ ป่าพรุ และ ป่าสนเขา
ข้อจำกัดการใช้งาน:
ข้อมูลสามารถนำไปใช้งานได้ดี ในมาตราส่วน 1:50,000 เป็นต้นไป ซึ่งจะต้องมีข้อมูลเสริมประกอบอื่นๆ เข้ามาเกี่ยวข้อง และชั้นข้อมูลนี้ส่วนใหญ่จะมีความถูกต้องที่ยอมรับได้ในระดับหนึ่ง โดยเฉพาะการนำไปใช้งานในมาตราส่วนเล็ก
แหล่งข้อมูล:
กรมป่าไม้ (RFD)
ที่ดินของรัฐ
ป่าสงวนแห่งชาติ
รายการ
คำอธิบาย
ชั้นข้อมูล:
ป่าสงวนแห่งชาติ
รายละเอียด:
ป่าสงวนแห่งชาติ ทั้งประเทศ พ.ศ.2557 จำนวน 1,221 แห่ง
ข้อจำกัดการใช้งาน:
ข้อมูลสามารถนำไปใช้งานได้ดี ในมาตราส่วน 1:50,000 เป็นต้นไป ซึ่งจะต้องมีข้อมูลเสริมประกอบอื่นๆ เข้ามาเกี่ยวข้อง และชั้นข้อมูลนี้ส่วนใหญ่จะมีความถูกต้องที่ยอมรับได้ในระดับหนึ่ง โดยเฉพาะการนำไปใช้งานในมาตราส่วนเล็ก
แหล่งข้อมูล:
กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม (MNRE)
อุทยานแห่งชาติ
รายการ
คำอธิบาย
ชั้นข้อมูล:
อุทยานแห่งชาติ
รายละเอียด:
อุทยานแห่งชาติ ทั้งประเทศ พ.ศ.2557 จำนวน 127 แห่ง
ข้อจำกัดการใช้งาน:
ข้อมูลสามารถนำไปใช้งานได้ดี ในมาตราส่วน 1:50,000 เป็นต้นไป ซึ่งจะต้องมีข้อมูลเสริมประกอบอื่นๆ เข้ามาเกี่ยวข้อง และชั้นข้อมูลนี้ส่วนใหญ่จะมีความถูกต้องที่ยอมรับได้ในระดับหนึ่ง โดยเฉพาะการนำไปใช้งานในมาตราส่วนเล็ก
แหล่งข้อมูล:
กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม (MNRE)
วนอุทยาน
รายการ
คำอธิบาย
ชั้นข้อมูล:
วนอุทยาน
รายละเอียด:
วนอุทยาน ทั้งประเทศ พ.ศ.2557 จำนวน 109 แห่ง
ข้อจำกัดการใช้งาน:
ข้อมูลสามารถนำไปใช้งานได้ดี ในมาตราส่วน 1:50,000 เป็นต้นไป ซึ่งจะต้องมีข้อมูลเสริมประกอบอื่นๆ เข้ามาเกี่ยวข้อง และชั้นข้อมูลนี้ส่วนใหญ่จะมีความถูกต้องที่ยอมรับได้ในระดับหนึ่ง โดยเฉพาะการนำไปใช้งานในมาตราส่วนเล็ก
แหล่งข้อมูล:
กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม (MNRE)
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า
รายการ
คำอธิบาย
ชั้นข้อมูล:
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า
รายละเอียด:
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ทั้งประเทศ พ.ศ.2557 จำนวน 58 แห่ง
ข้อจำกัดการใช้งาน:
ข้อมูลสามารถนำไปใช้งานได้ดี ในมาตราส่วน 1:50,000 เป็นต้นไป ซึ่งจะต้องมีข้อมูลเสริมประกอบอื่นๆ เข้ามาเกี่ยวข้อง และชั้นข้อมูลนี้ส่วนใหญ่จะมีความถูกต้องที่ยอมรับได้ในระดับหนึ่ง โดยเฉพาะการนำไปใช้งานในมาตราส่วนเล็ก
แหล่งข้อมูล:
กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม (MNRE)
เขตห้ามล่าสัตว์ป่า
รายการ
คำอธิบาย
ชั้นข้อมูล:
เขตห้ามล่าสัตว์ป่า
รายละเอียด:
เขตห้ามล่าสัตว์ป่า ทั้งประเทศ พ.ศ.2557 จำนวน 67 แห่ง
ข้อจำกัดการใช้งาน:
ข้อมูลสามารถนำไปใช้งานได้ดี ในมาตราส่วน 1:50,000 เป็นต้นไป ซึ่งจะต้องมีข้อมูลเสริมประกอบอื่นๆ เข้ามาเกี่ยวข้อง และชั้นข้อมูลนี้ส่วนใหญ่จะมีความถูกต้องที่ยอมรับได้ในระดับหนึ่ง โดยเฉพาะการนำไปใช้งานในมาตราส่วนเล็ก
แหล่งข้อมูล:
กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม (MNRE)
ป่าชายเลน
รายการ
คำอธิบาย
ชั้นข้อมูล:
ป่าชายเลน
รายละเอียด:
ป่าชายเลน ทั้งประเทศ พ.ศ.2557 พบได้บริเวณพื้นที่ติดทะเลของประเทศ ได้แก่ ฝั่งอ่าวไทย และอันดามัน
ข้อจำกัดการใช้งาน:
ข้อมูลสามารถนำไปใช้งานได้ดี ในมาตราส่วน 1:50,000 เป็นต้นไป ซึ่งจะต้องมีข้อมูลเสริมประกอบอื่นๆ เข้ามาเกี่ยวข้อง และชั้นข้อมูลนี้ส่วนใหญ่จะมีความถูกต้องที่ยอมรับได้ในระดับหนึ่ง โดยเฉพาะการนำไปใช้งานในมาตราส่วนเล็ก
แหล่งข้อมูล:
กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม (MNRE)
โซนนิ่งป่าไม้
รายการ
คำอธิบาย
ชั้นข้อมูล:
โซนนิ่งป่าไม้
รายละเอียด:
ประเภทการใช้ประโยชน์ในพื้นที่ป่าไม้ ทั้งประเทศ พ.ศ.2557 แบ่งออกเป็น 3 ประเภท ได้แก่ พื้นที่เกษตรกรรม (A) ป่าเศรษฐกิจ (E) และ ป่าอนุรักษ์ (C)
ข้อจำกัดการใช้งาน:
ข้อมูลสามารถนำไปใช้งานได้ดี ในมาตราส่วน 1:50,000 เป็นต้นไป ซึ่งจะต้องมีข้อมูลเสริมประกอบอื่นๆ เข้ามาเกี่ยวข้อง และชั้นข้อมูลนี้ส่วนใหญ่จะมีความถูกต้องที่ยอมรับได้ในระดับหนึ่ง โดยเฉพาะการนำไปใช้งานในมาตราส่วนเล็ก
แหล่งข้อมูล:
กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม (MNRE)
ป่าไม้ถาวร
รายการ
คำอธิบาย
ชั้นข้อมูล:
ป่าไม้ถาวร
รายละเอียด:
ป่าไม้ถาวร ทั้งประเทศ
ข้อจำกัดการใช้งาน:
ข้อมูลสามารถนำไปใช้งานได้ดี ในมาตราส่วน 1:50,000 เป็นต้นไป ซึ่งจะต้องมีข้อมูลเสริมประกอบอื่นๆ เข้ามาเกี่ยวข้อง และชั้นข้อมูลนี้ส่วนใหญ่จะมีความถูกต้องที่ยอมรับได้ในระดับหนึ่ง โดยเฉพาะการนำไปใช้งานในมาตราส่วนเล็ก
แหล่งข้อมูล:
กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม (MNRE)
ชื่อโครงการ
หน่วยงานเจ้าของโครงการ
ผู้เข้าร่วม (คน)
พื้นที่ปลูกป่า (ไร่)
ต้นไม้ที่ปลูก (ต้น)
ชื่อพันธุ์ไม้ที่นำมาปลูก
งบประมาณโครงการ (บาท)
ชนิดป่า
ชื่อป่าสงวนแห่งชาติ
ชื่อป่าอนุรักษ์
ชื่อป่าชายเลน
ชนิดป่า
ชื่อป่าสงวนแห่งชาติ
ชื่อป่าอนุรักษ์
ชื่อป่าชายเลน
พื้นที่ถูกบุกรุก (ไร่)
ผู้ถูกจับกุม (คน)
สัญชาติ/ภูมิลำเนาผู้ถูกจับกุม
แหล่งที่มาของต้นไม้
ชื่อไม้ที่จับกุมได้
ท่อนไม้ที่ยึดได้ (ท่อน)
รวมมูลค่าของกลาง (บาท)
ผู้ถูกจับกุม (คน)
สัญชาติ/ภูมิลำเนาผู้ถูกจับกุม
ชนิดป่า
ชื่อป่าสงวนแห่งชาติ
ชื่อป่าอนุรักษ์
ชื่อป่าชายเลน
พื้นที่ไฟไหม้ (ไร่)
ชนิดป่า
ชื่อป่าสงวนแห่งชาติ
ชื่อป่าอนุรักษ์
ชื่อป่าชายเลน
ชื่อสัตว์ป่า
จำนวน (ตัว)
มูลค่าความสูญเสีย (บาท)
ผู้ถูกจับกุม (คน)
สัญชาติ/ภูมิลำเนาผู้ถูกจับกุม
ชนิดป่า
ชื่อป่าสงวนแห่งชาติ
ชื่อป่าอนุรักษ์
ชื่อป่าชายเลน
ชื่อของป่า
จำนวน (ชิ้น)
รวมมูลค่าของกลาง (บาท)
ผู้ถูกจับกุม (คน)
สัญชาติ/ภูมิลำเนาผู้ถูกจับกุม
© Copyright 2018 GISTDA All rights reserved.